ไม่มีหมวดหมู่

กรณีศึกษาอาชญากรรมและกฎหมายไอที

การCopyรูปภาพ/ข้อความบนเว็บไซต์ของผู้อื่นมาใช้เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ จำเป็นต้องขออนุญาตเจ้าของเสียก่อน แต่ก็มีข้อยกเว้นสำหรับกรณีเพื่อการศึกษา โดยต้องมีการอ้างอิงและขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์

การหมิ่นประมาททางอินเตอร์เน็ตสามารถฟ้องร้องเอาผิดได้หรือไม่ สามารถฟ้องร้องได้ทั้งคดีอาญา และคดีแพ่ง โดยอาญานั้นยิ่งจริงยิ่งผิด ไม่สามารถยอมความได้นะจ๊ะ 1 คำหมิ่นประมาท คิดเป็นหนึ่งบทลงโทษ 100 คำหมิ่นประมาท(ต่อคน) ก็บวก ลบ คูณ หารกันเอาเองนะ คนตั้งกระทู้โทษหนักพักพวกก็โดนนะจ๊ะ

การทำHyperlink ไม่ให้ละเมิดลิขสิทธินั้น ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์เสียก่อน

โหลดโปรแกรมหรือเพลงทางอินเตอร์เน็ต  ถ้าใช้งานแบบถูกต้องตามกฎหมาย โดยไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ต้องเป็นโปรแกรมประเภท Freeware,Shareware ส่วนการโหลดเพลงขึ้นบนอินเตอร์เน็ตให้คนทั่วไปโหลดได้ฟรีๆเป็นการละเมิด ลิขสิทธิ์ถือเป็นคดีอาญา

เอิ๊กๆ มีหลายกรณีแล้วนะค่ะที่ฟ้องร้องกันมา ระวังน๊าโพสพาดพิงถึงคนขี้โมโห
และเอาเรื่อง จะถูกฟ้องไม่รู้ตัว ตรงนี้ไม่สามารถเอาลิงค์มาให้ดูได้ เพราะยังไม่ได้ขอเจ้าของ
แต่หาในgoogle คำว่าหมิ่นประมาททางอินเตอร์เนตได้จ๊ะ  น่าจะมีตัวอย่างคนที่ถูกฟ้องร้องให้ ดู

ถ้าเห็นว่ากระทู้นี้มีประโยชน์โหวดให้ด้วยจ๊ะ อ้อระวังนะเวลาตั้งกระทู้ถึงใครให้เอ่ยชื่อย่อ
แต่ถ้ามันทำให้เขาเสื่อมเสียต่อสาธารณชน และโฆษณามีผลให้เสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม
ก็อย่าไปทำเลยเพราะว่าเราคนไทยเหมือนกัน “รักกันไว้เถิด เราเกิดร่วมแดนไทย”

อีกอย่างนะจ๊ะแม้เอ่ยชื่อย่อ  แต่เมื่อพูดไปแล้ว เขียนข้อความลงไป แล้วคนอื่นรู้ว่าเป็นบุคคลคนนั้น
ก็โดนเหมือนกันนะ เดี๋ยวนี้แม้แต่เล่นอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ก็จับได้นะจ๊ะ เพราะกฎหมายเขาให้ร้านเก็บข้อมูลไว้ 90 วัน อย่าไปเชื่อใครว่าในเน็ตทำอะไรไม่ได้ล่ะ มีคนโดนมาแล้วปัจจุปันหนีหัวซุน บางคนก็ต้องสู้คดีเสียเวลา เสียเงิน ยิ่งโดนคดีอาญานี้แสบจริงๆ ยอมความไม่ได้เลยน๊า

แล้วบางทีถ้าเราตั้งกระทู้หมิ่นเหม่ แล้วถูกลบก็อย่าไปโกรธเว็บไซส์นะจ๊ะเพราะว่า
หากมีการฟ้องร้องทางคดีความ เวบไซต์ “อาจจะ” ต้องมีส่วนรับผิดชอบด้วย
(อ้างอิงจาก พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐  
www.dsi.go.th/dsi/gallery/yanaphon/comp_law_2007.pps )

มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทำความผิดตามมาตรา ๑๔
ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำความผิดตามมาตรา ๑๔

เหตุผล ผู้ให้บริการในที่นี้มุ่งประสงค์ถึง เจ้าของเว็บไซต์ ซึ่งมีการพิจารณาว่า
ควรต้องมีหน้าที่ลบเนื้อหาอันไม่เหมาะสมด้วย

บทกำหนดโทษ
มาตรา ๑๔ โทษจำคุกไม่เกิน ๕ ปี โทษปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

แหล่งที่มา: JustUsers.net

การCopyรูปภาพ/ข้อความบนเว็บไซต์ของผู้อื่นมาใช้เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ จำเป็นต้องขออนุญาตเจ้าของเสียก่อน แต่ก็มีข้อยกเว้นสำหรับกรณีเพื่อการศึกษา โดยต้องมีการอ้างอิงและขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์

การหมิ่นประมาททางอินเตอร์เน็ตสามารถฟ้องร้องเอาผิดได้หรือไม่ สามารถฟ้องร้องได้ทั้งคดีอาญา และคดีแพ่ง โดยอาญานั้นยิ่งจริงยิ่งผิด ไม่สามารถยอมความได้นะจ๊ะ 1 คำหมิ่นประมาท คิดเป็นหนึ่งบทลงโทษ 100 คำหมิ่นประมาท(ต่อคน) ก็บวก ลบ คูณ หารกันเอาเองนะ คนตั้งกระทู้โทษหนักพักพวกก็โดนนะจ๊ะ

การทำHyperlink ไม่ให้ละเมิดลิขสิทธินั้น ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์เสียก่อน

โหลดโปรแกรมหรือเพลงทางอินเตอร์เน็ต  ถ้าใช้งานแบบถูกต้องตามกฎหมาย โดยไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ต้องเป็นโปรแกรมประเภท Freeware,Shareware ส่วนการโหลดเพลงขึ้นบนอินเตอร์เน็ตให้คนทั่วไปโหลดได้ฟรีๆเป็นการละเมิด ลิขสิทธิ์ถือเป็นคดีอาญา

เอิ๊กๆ มีหลายกรณีแล้วนะค่ะที่ฟ้องร้องกันมา ระวังน๊าโพสพาดพิงถึงคนขี้โมโห
และเอาเรื่อง จะถูกฟ้องไม่รู้ตัว ตรงนี้ไม่สามารถเอาลิงค์มาให้ดูได้ เพราะยังไม่ได้ขอเจ้าของ
แต่หาในgoogle คำว่าหมิ่นประมาททางอินเตอร์เนตได้จ๊ะ  น่าจะมีตัวอย่างคนที่ถูกฟ้องร้องให้ ดู

ถ้าเห็นว่ากระทู้นี้มีประโยชน์โหวดให้ด้วยจ๊ะ อ้อระวังนะเวลาตั้งกระทู้ถึงใครให้เอ่ยชื่อย่อ
แต่ถ้ามันทำให้เขาเสื่อมเสียต่อสาธารณชน และโฆษณามีผลให้เสื่อมเสียต่อบุคคลที่สาม
ก็อย่าไปทำเลยเพราะว่าเราคนไทยเหมือนกัน “รักกันไว้เถิด เราเกิดร่วมแดนไทย”

อีกอย่างนะจ๊ะแม้เอ่ยชื่อย่อ  แต่เมื่อพูดไปแล้ว เขียนข้อความลงไป แล้วคนอื่นรู้ว่าเป็นบุคคลคนนั้น
ก็โดนเหมือนกันนะ เดี๋ยวนี้แม้แต่เล่นอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ ก็จับได้นะจ๊ะ เพราะกฎหมายเขาให้ร้านเก็บข้อมูลไว้ 90 วัน อย่าไปเชื่อใครว่าในเน็ตทำอะไรไม่ได้ล่ะ มีคนโดนมาแล้วปัจจุปันหนีหัวซุน บางคนก็ต้องสู้คดีเสียเวลา เสียเงิน ยิ่งโดนคดีอาญานี้แสบจริงๆ ยอมความไม่ได้เลยน๊า

แล้วบางทีถ้าเราตั้งกระทู้หมิ่นเหม่ แล้วถูกลบก็อย่าไปโกรธเว็บไซส์นะจ๊ะเพราะว่า
หากมีการฟ้องร้องทางคดีความ เวบไซต์ “อาจจะ” ต้องมีส่วนรับผิดชอบด้วย
(อ้างอิงจาก พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐  
www.dsi.go.th/dsi/gallery/yanaphon/comp_law_2007.pps )

มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทำความผิดตามมาตรา ๑๔
ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำความผิดตามมาตรา ๑๔

เหตุผล ผู้ให้บริการในที่นี้มุ่งประสงค์ถึง เจ้าของเว็บไซต์ ซึ่งมีการพิจารณาว่า
ควรต้องมีหน้าที่ลบเนื้อหาอันไม่เหมาะสมด้วย

บทกำหนดโทษ
มาตรา ๑๔ โทษจำคุกไม่เกิน ๕ ปี โทษปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

แหล่งที่มา: JustUsers.net

Previous article
Tips for Security Setting in Android Mobile Phone
Next article
บทลงโทษ เรื่องหมิ่นประมาททางอินเตอร์เน็ต ทั้งการตั้งกระทู้ป่วนบอร์ด